The Importance of Speaking Practice
There are 4 key skills when you learn a language:
- listening
- speaking
- reading
- writing
Which one of these is the "Odd-One-Out"? Which one of these is different from the other three? The answer is speaking. The other three you can do alone, on your own, without anyone else. You can listen to the radio alone. You can read a book alone. You can write a letter alone. But you can't reallyspeak alone! Speaking to yourself can be "dangerous" because men in white coats may come and take you away!!
That is why you should make every effort possible to find somebody to speak with. Where can you find people who can speak English with you? And how can you practise speaking when you are alone?
At School
If you go to a language school, you should use the opportunity to speak to your teachers and other students. When you go home, you can still practise listening, reading and writing, but you probably can't practise speaking. If your teacher asks you a question, take the opportunity to answer. Try to say as much as possible. If your teacher asks you to speak in pairs or groups with other students, try to say as much as possible. Don't worry about your mistakes. Just speak!
Conversation Clubs
Many cities around the world have conversation clubs where people can exchange one language for another. Look in your local newspaper to find a conversation club near you. They are usually free although some may charge a small entrance fee.
Shopping
If you are living in an English-speaking country, you have a wonderful opportunity. Practise speaking to the local people such as shop assistants or taxi drivers. Even if you don't want to buy anything, you can ask questions about products that interest you in a shop. "How much does this cost?" "Can I pay by cheque?" "Which do you recommend?" Often you can start a real conversation - and it costs you nothing!
Pubs and Bars
Even if you don't live in an English-speaking country, there are often American, British, Irish and Australian pubs in many large cities. If you can find one of these pubs, you'll probably meet many people speaking English as a first or second language.
Language is all around You
Everywhere you go you find language. Shop names, street names, advertisements, notices on buses and trains... Even if you are not in an English-speaking country, there are often a lot of English words you can see when walking in the street, especially in big cities. And there are always numbers. Car numbers, telephone numbers, house numbers... How can this help you? When you walk down the street, practise reading the words and numbers that you see. Say them to yourself. It's not exactly a conversation, but it will help you to "think" in English. For example, if you walk along a line of parked cars, say the number on each car quickly as you pass it. Test yourself, to see how fast you can walk and still say each number. But don't speak too loud!
Songs and Video
Listen to the words of an English-language song that you like. Then repeat them to yourself and try to sing with the music. Repeat the words as many times as possible until they become automatic. Soon you'll be singing the whole song. Or listen to one of your favourite actors on video and repeat one or two sentences that you like. Do it until it becomes automatic. It's good practice for your memory and for the mouth muscles that you need for English.
Above all, don't be afraid to speak. You must try to speak, even if you make mistakes. You cannot learn without mistakes. There is a saying: "The person who never made a mistake never made anything." So think of your mistakes as something positive and useful.
Speak as much as possible! Make as many mistakes as possible! When you know that you have made a mistake, you know that you have made progress.
การพูด
การพูดและการสอนการพูด
ไบเล่ย์ (Bailey,
2005) ให้ความหมายของการพูดและการสอนพูดไว้ดังนี้
การพูด (speaking) หมายถึงการเปล่งเสียงออกมาเพื่อให้เกิดความหมาย การพูดเป็นการบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้พูด ผ้ฟัง และข้อมูล การพูดเป็น productive skills เพราะผู้พูดเป็นผู้ให้ข้อมูล
หรือเป็นผู้ส่งสาร การพูดกับการเขียนถือว่าเป็น productive skills ส่วนการฟังและการอ่านเป็น
receptive skills
เป็นการรับสาร
การสอนพูด (teaching
speaking) ในยุคก่อนหมายถึงการให้ความช่วยเหลือผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เสียง คำศัพท์ โครงสร้างหรือการสอนความรู้ด้านภาษา (linguistic competence)
โดยการสะสมความรู้ทีละเล็กที่ละน้อยนำมารวมกันแล้วในที่สุดก็ใช้ภาษาในการสื่อสารได้
เริ่มตั้งแต่ปี คศ. 1970 เป็นต้นมาเริ่มเปลี่ยนความคิดจากการการสอนความรู้ทางภาษา
มาเป็นการสอนให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร
ทั้งนี้เพราะในประเทศเจ้าของภาษา เช่น ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซีแลนด์ อังกฤษ
และอเมริกา เริ่มมีผู้อพยพเข้าไปอาศัยอยู่ในประเทศเหล่านั้น การสอนภาษาอังกฤษเพียงเพื่อให้มีความรู้ทางภาษาไม่สามารถช่วยให้ผู้อพยพสื่อสารได้
นักการศึกษาด้านภาษาที่สองจึงคิดวิธีการสอนขึ้นมาใหม่เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร
(communicative competence) ซึ่งผู้เรียนต้องสามารถใช้ภาษาเพื่อปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นตามสถาณการณ์และบริบทต่างๆ
และ ยังต้องเข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาด้วย ผู้เรียนจึงต้อง
มีความสามารถเพิ่มขึ้นอีก
3 ด้านดังต่อไปนี้จึงจะสามารถสื่อสารได้
1. ความสามารถในการใช้ภาษาตามความเหมาะสมทางสังคม
(sociolinguistic competence) หมายถึงความสามารถในการใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตามสถานการณ์ บริบท ระดับ (register) เช่นการใช้ภาษาที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ
2.
ความสามารถในการใช้กลวิธีสื่อสาร (strategic competence) หมายถึงความสามารถในการที่จะใช้กลวิธีต่างใขณะสื่อสารเพื่อให้การสื่อสารนั้นสื่อความหมายได้ถูกต้องตามความมุ่งหมายของผู้พูด
กลวิธีสื่อสารที่ผู้เรียนภาษาต่างประเทศและภาษาที่สองใช้ขณะพูดสื่อสารมีดังนี้
2.1 การถอดความ หรือการใช้สำนวนใหม่ (paraphrase) ประกอบไปด้วยเทคนิค
ย่อยๆดังนี้
2.1.1 การใช้คำใกล้เคียง (approximation) ในขณะที่สนทนาผู้พูดจำคำศัพท์ไม่ได้หรือไม่รู้คำศัพท์
จึงแก้ปัญหาโดยพูดคำที่ใกล้เคียงกัน เช่น พูดว่า pipe เพราะจำคำว่า water
pipe ไม่ได้
2.1.2 การคิดคำขึ้นมาใหม่ (word
coinage) ในขณะที่สนทนาผู้พูดจำคำศัพท์ไม่ได้หรือไม่รู้คำศัพท์จึงสร้างคำศัพท์ขึ้นมาใหม่
เช่น airball แทนคำว่า balloon
2.1.3 การใช้คำอธิบายอ้อมค้อม (circumlocution)
ในขณะที่สนทนาผู้พูดจำคำศัพท์ไม่ได้หรือไม่รู้คำศัพท์จึงใช้การขยายความ
เช่น She is, uh, smoking something. I don’t know what’s its name. That’s
uh, Persian, and we use in Turkey ,
a lo of.
ตัวอย่าง
“ It is, uh, the thing
that make the hair hot. You know, when you clean the hair and then after – that
thing that make the hair hot when the hair has water. It’s, uh, it use electric
to make the hair hot. Is not in the room and I want to use it.”
2.2 การยืม (borrowing)
ประกอบไปด้วยเทคนิคย่อยๆดังนี้
2.2.1 การแปลตามตัวอักษร (literal
translation) ขณะที่สนทนาไม่รู้คำศัพท์สำนวนจึงใช้คำศัพท์ที่แปลตรงๆ
เช่น พูดว่า He invites him to drink. แทนการพูดว่า They
toast one another.
2.2.2 การเปลี่ยนภาษา (language switch) ขณะที่สนทนาไม่รู้คำศัพท์จึงใช้ภาษาของตนเองปะปนกับภาษาเป้าหมาย
ตัวอย่าง
“ We say in Spanish secadora
– the dryer, but is for the hair. The dryer of the hair. Do you have the
dryer of the hair? I need one please.”
2.2.3 การขอความช่วยเหลือ (appeal for
assistance) ขณะที่สนทนาไม่รู้คำศัพท์จึงถามคู่สนทนา
เช่น What
is this? What called?
ตัวอย่าง
“
So, uh, now my hair is wet. And I must go to the party. So now, I need that
machine, that little machine. What is the name? How do you call it in English?”
2.2.4 การแสดงท่าทาง (mime) ขณะที่สนทนาไม่รู้คำศัพท์จึงแสดงท่าทางแทนคำพูด
เช่น ปรบมือ หมายถึงการแสดงความชื่นชมยินดี
ตัวอย่าง
(Imagine
that the guest is at the hotel’s front desk talking directly to the clerk.)
“ Yes, uhm, please, I need, you
know the thing, I do this” [gestures brushing her hair and blow-drying it] “
after I am washing my hair. Do you have this thing?
2.2.5 การหลีกเลี่ยง (avoidance) ประกอบไปด้วยเทคนิคย่อยๆ ดังนี้
2.2.5.1
การเลี่ยงประเด็น (Topic avoidance) ไม่พูดเรื่องที่ไม่มีรู้คำศัพย์หรือไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ
2.2.6 เลี่ยงข้อความ (message
abandonment) ขณะที่พูดจำบางข้อความไม่ได้หยุดชะงักกลางคัน
พยายามเปลี่ยนข้อความใหม่ที่สื่อความได้คล้ายๆกัน
3. ความสามารถในด้านเนื้อความ (discourse competence)
หมายถึงความสามารถในการเชื่อมโยงส่วนต่างๆของคำศัพท์
ประโยคให้สัมพันธ์กันและสื่อความหมายได้ ความสัมพันธ์ของเนื้อความมี
2 ลักษณะดังนี้
3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบของประโยค
(cohesion) หมายถึงความสามารถของผู้พูดในการใช้คำศัพท์และโครงสร้างได้ถูกต้องเหมาะสมตามบริบทสื่อความหมายกับผู้ฟังได้ ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงความสัมพันธ์สอดคล้องแบบ cohesion
Jeff:
Hey, Lindsey, how’s it going?
Lindsey:
Wow! I just had a test and it was really hard!
Jeff:
Oh! What was the test about?
Lindsey:
Statistics! All those formulas are so confusing!
Jeff:
Yeah, I don’t like that either.
Lindsey ใช้ pronoun “it” หมายถึง test ที่ได้กล่าวถึงแล้ว Jeff ใช้คำว่า test เพื่อเชื่อมข้อความให้ปะติดปะต่อกับ
Lindsey และ Lindsey ใช้คำว่า statistics และ formulas ซึ่งเป็นคำ
synonym Jeff
วิธีสอนภาษาในอดีตที่เน้นความถูกต้องของความรู้ทางภาษาเช่น
การสอนแบบไวยากรณ์และแปล การสอนแบบ ฟัง-พูด ถือว่ากลวิธีทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นปัญหาของการพูดเพราะเชื่อว่าการพูดต้องมั่นในว่าถูกต้องจึงพูดไม่ควรพูดผิดๆ
ส่วนการเรียนการสอนภาษาในปัจจุบันถือว่ากลวิธีการสื่อสารเป็นการช่วยให้ผู้พูดกับผู้ฟังสื่อความหมายกันได้ถือว่าเป็นเหตุการณ์ปกติของคนที่กำลังใช้ภาษาที่สอง
และครูต้องฝึกให้นักเรียนใช้กลกลวิธีเหล่านี้โดยการสอดแทรกเข้าไปในการจัดกิจกรรมการพูดทุกครั้งจะทำให้นักเรียนพูดได้คล่องแคล่วมากขึ้น
3.2 ความสัมพันธ์ของเนื้อความแบบ coherence หมายถึงความสัมพัน์ที่เชื่อมความหมายกับคำพูด
ซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้เดิมและภูมิหลังของผู้พูด
ดังตัวอย่างการสนทนาต่อไปนี้คู่สนทนาสื่อความหมายกันได้พราะอยู่ในบริบทเดียวกันทั้งสองคนสื่อความหมายได้ตรงกันคือตารางเวลาตรงกัน
Person:
Going to the review session?
Person 2: Rugby practice.
ความสัมพันธ์ของเนื้อความทั้งสองแบบมีความสำคัญต่อผู้เรียนภาษาที่สองโดยเฉพาะความสัมพันธ์แบบ
cohesion เป็นความสัมพันธ์ระดับพื้นฐานที่ต้องใช้ขณะสนทนา
องค์ประกอบสำคัญในการพูดอีกประการหนึ่งก็คือ
ความถูกต้อง (accuracy) หมายถึงความสามารถในการใช้ศัพท์
โครงสร้าง เพื่อสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง และ
ความคล่องแคล่ว (fluency) หมายถึงความสามารถในการพูดได้รื่นไหล
และมีความมั่นใจในการพูด สิ่งที่ครูต้องคำนึงถึงคือผู้เรียนที่เรียนภาษาที่ 2 นั้น
การพูดถูกต้องกับการพูดคล่องจะไม่เกิดขึ้นพร้อมกันเมื่อผู้เรียนพยายามที่จะพูดให้ถูกต้องการพูดจะตะกุกตะกักไม่คล่อง
ขณะเดียวกันถ้าพูดเร็วก็จะทำให้พูดไม่ถูกต้อง
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่าประเทศในปัจจุบันส่งเสริมทั้งการพูดถูกต้องและคล่องแคล่วแต่ถ้าครูฝึกให้นักเรียนพูดคล่องก่อนค่อยแก้ไขข้อผิดพลาดของตัวเองขณะพูดไปเรื่อยๆก็จะทำให้พูดถูกต้องมากขึ้น
การพูดคล่องมีความหมายที่กว้างกว่าการพูดรื่นไหล บราวด์
(Brown, 200: Website) ได้รวบรวมคำจำกัดความของการพูดคล่องดังนี้
- การพูดคล่องหมายถึงการพูดได้โดยไม่ติดขัด
ถูกต้องตามโครงสร้างของภาษาโดยอัตโนมัติและเป็นธรรมชาติ
อย่างไรก็ตามการพูดคล่องเน้นการสื่อความหมายมากกว่าโครงสร้างภาษา
-
การพูดคล่องหมายถึงความสามารถของผู้พูดในลักษณะต่อไปนี้ คือ พูดได้รื่นไหลเป็นเวลานานไม่ตะกุกตะกักบ่อยๆ ขยายความในบริบทได้อย่างเหมาะสม
ใช้ภาษาได้อย่างสละสลวยและที่สำคัญที่สุดคือต้องสื่อความได้
- การพูดคล่องหมายถึงการพูดที่เป็นธรรมชาติ
มีการหยุดเป็นจังหวะ เน้นเสียงหนักเบาได้เหมือนเจ้าของภาษามากที่สุด
ระดับของการพูดคล่องเป็นตัวบ่งชี้ถึงความสามารถในการใช้ภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศของผู้พูด
- การพูดคล่องหมายถึงการพูดสื่อความคิดของตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งไม่จำเป็นต้องพูดได้ถูกต้องตามโครงสร้าง
ศัพย์ และการเน้นหนัก ในคำหรือพยางค์
- การพูดคล่องหมายถึงการพูดสื่อสารได้ไม่หยุดชะงักลงกลางคัน
Speaking Lesson Plan doc;
http://file2.uploadfile.biz/i/EMEMMEIMEIXWDZ
Speaking Lesson Plan PPT;
http://file2.uploadfile.biz/i/EMEMMEIMEIXDWW
Speaking Lesson Plan doc;
http://file2.uploadfile.biz/i/EMEMMEIMEIXWDZ
Speaking Lesson Plan PPT;
http://file2.uploadfile.biz/i/EMEMMEIMEIXDWW
06
View more PowerPoint from buathip564
Speaking lesson plan 4
View more documents from buathip564
No comments:
Post a Comment